จริยศาสตร์ของค้านท์
1.กฎสัมบูรณ์ คือ กฎต้องเป็นกฎ ห้ามยืดหยุ่น
สัมบูรณ์ คือ ความจริงของสิ่ง ๆ หนึ่ง สิ่งนั้นไม่อิงกับสิ่งใด มีความสัมบูรณ์ในตัวของมันเอง มีความแน่นอน
2.จริยธรรม มีความแน่นอน
การใช้เหตุผลช่วยให้เข้าถึงจริยธรรม
ดังนี้ การใช้เหตุผล จึงเป็นการเข้าถึงความสัมบูรณ์
(* ความสัมบูรณ์ มีความแน่นอน จริยธรรมมีความแน่นอน เหตุผลช่วยให้เข้าถึงจริยธรรม)
3.เจตนาดี เท่ากับความดี
เจตนา เท่ากับหน้าที่
4.ลักษณะเจตนาดี (ความดี หน้าที่)
-ไม่มีอารมณ์ความรู้สึก
-ทำไปตามหน้าที่
-ไม่สนใจผลของการกระทำ
5.หน้าที่กับศีลธรรม
มนุษย์มีองค์ประกอบ 2 ส่วน
-อารมณ์ (ความรู้สึก)
-เหตุผล (หน้าที่)
6.การกระทำของมนุษย์มีอยู่ 2 ระดับ
-คำสั่งมีเงื่อนไข คือ ทำสิ่งหนึ่ง ได้ผลสืบเนื่องจากสิ่งที่กระทำ แต่มีเป้าหมายที่ทำ
-คำสั่งเด็ดขาด คือ ทำสิ่งหนึ่ง ได้ผลสืบเนื่องจากสิ่งที่กระทำ แต่ไม่มีเป้าหมายที่ทำ
7.วิจารณ์ริยศาสตร์ของค้านท์
-ไม่ให้ความสำคัญกับความรู้สึก แม้จะเป็นความรู้สึกทางด้านบวก เช่น ความเมตตา ความรัก
-มีความตึงจนเกินไป
-ไม่สนใจผลของการกระทำเลย ซึ่งผลการกระทำบางทีอาจร้ายแรงมาก ๆ ถ้าทำตามหลักของค้านท์
-จริยศาสตร์ของค้านท์ให้คนอยู่เพื่อศีลธรรม ไม่ใช่ความสุข
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น